Software Effort  Estimate  การประมาณการ

Project  Leader หรือ Project  Manager หรือกลุ่มคน หรือกลุ่มคนภายนอก Project  Team  เป็นคนทำ ซึ่งเป็นการประมาณจากความเป็นจริง  (Realistic)  ไม่ใช่การคาดเดาหรือการประมาณการ  ถ้าไม่สามารถใช้อะไรคำนวณได้  ให้พิจารณาจาก Project  เก่า 
 การประมาณการจะทำเมื่อใด 
-  Strategic  Planning 
-  Feasibility Study
-  System Specification
-  Evaluation  of  Supplier proposals (ใบเสนอราคาของ Supplier)   ถ้าเป็นซื้อ Software  ให้ดูที่ Spec
-  Project Planning  เน้นที่ Activity   การประมาณการเน้น   ความคืบหน้าของงานและ Requirement  ตรงตามที่ user ต้องการหรือไม่   การ Estimate  จะต้องทำ Activities  Planning  ก่อน
    การประมาณการจะพบ  2  ลักษณะ
-Under Estimate
-Over Estimate
ในการ  Estimate  ผิดพลาด + 20 %  ถือว่ามีการวางแผนที่ดี  เพราะ ยากที่จะประมาณการได้ถูกต้อง  100 %  การประมาณไว้ Under Estimate ทำให้งานเสร็จไม่ทันตามกำหนดต้นทุนสูง  ความเสี่ยงสูง และคุณภาพต่ำ การประมาณไว้ Over Estimate  ข้อดี  คือ  งานเสร็จทันตามกำหนดและ ตรงตามความต้องการของ  user  ข้อเสีย  คือ  ต้นทุนสูง
เทคนิคในการประมาณการ
1.Algorithmic  Models  พิจารณาจาก Target , การ  Implement จะทำให้ทราบว่าใช้คนเท่าใด 
2.Expert  judgement   ใช้คนมีประสบการณ์ในการประมาณการและตัดสินใจ
3.Analogy   พิจารณาจาก Project เก่าหรือ Project ที่ใกล้เคียงกัน  แล้วมาคำนวณใหม่ 
4.Parkinson  พิจารณาว่ามีคนจำนวนเท่าใดในการทำ Project แล้วนำมาคำนวณ
5.Price to win  ราคาที่คุ้มค่าที่สุดในการทำ  (เป็นวิธีที่ Vendor ใช้ในการประมาณการ)  โดยพิจารณาจาก Vendor เสนอ
6.Top – down  คิดทั้ง Project แล้วมาแตกเป็นงานเล็ก ๆ
7.Bottom – up  ประมาณจากงานย่อย ๆ แล้วรวมทั้ง Project
- Bottom – up  Estimating (Activity         Project)  ประมาณการจากงาน  (Activity) เล็ก ๆ แล้วรวมเป็น Project ทำให้ทราบว่าใช้คนเท่าใด เวลาเท่าใด  วิธีนี้จะประมาณได้ใกล้เคียงมากที่สุด 
- Bottom – up เหมาะกับ Project ใหม่ หรือ Project ที่ไม่เคยมีข้อมูล หรือไม่รู้ว่าจะเริ่มจากอะไร Top – down  Estimating (Project        Activity) เหมาะกับ  Project  ที่มี  Project เก่าเป็นตัวอย่าง  โดยประมาณการทั้ง Project แล้วประมาณการแตกย่อยเป็น  Activity การจะเลือกใช้วิธี bottom – up หรือ top-down ต้องพิจารณาเลือกว่าวิธีใดเหมาะสม
Albrecht  function point analysis
Function Point  มี  5  ประเภท ได้แก่
  • External input types เป็นการใส่ข้อมูลเข้าไป แล้วไป update , add, dalete ในระบบ
  • External output types เป็นการดึงข้อมูลจาก file ขึ้นมาแสดง  (ดูผลการใส่ข้อมูลลงไป)
  • Logical interface file types เป็นการดึงข้อมูลจาก file ขึ้นมาคำนวณ  (การทำงานของข้อมูล)
  • External interface file types เป็นการดึง file ข้ามระหว่างระบบ , ระหว่าง Application
  • External inquiry types เป็นการเรียกข้อมูลขึ้นมาดู  ไม่มีการ update ข้อมูล

กลับไปหน้าวิศวกรรมซอฟต์แวร์

 

หน้าหลัก บทเรียน ประวัติ เพื่อน